ศิลปะช่วยลดอาการสมาธิสั้นในเด็กได้อย่างไร

ศิลปะ

ปัจจุบันนี้พบว่าคนไทยจำนวนมากมีอาการสมาธิสั้นเกิดขึ้น โดยเฉพาะในเด็กที่อยู่ในวัยเรียน ซึ่งอาการสมาธิสั้นที่เกิดขึ้น เนื่องจากการเลี้ยงดูที่ขาดความใส่ใจและการเทคโนโลยีที่ทำให้เด็กไม่ต้องสนอง อย่างโทรทัศน์หรือมือถือเข้ามาช่วยเด็กหยุดนิ่ง ซึ่งการที่เด็กหยุดนิ่งจะทำให้คนเลี้ยงเหนื่อยน้อยลงและมีเวลาในการทำสิ่งอื่นมากขึ้น แต่ว่าการทำเช่นนั้นจะทำให้เด็กมีอาการสมาธิสั้นไม่สามารถจดจ่อกับสิ่งที่ทำ มีอารมณ์แปรปรวน มีความก้าวร้าว รอคอยไม่เป็น เอาแต่ใจ ซึ่งอาการในเด็กแต่ละคนจะมีลักษณะที่ต่างกัน ซึ่งเมื่อโตขึ้นไปเด็กจะเข้าสังคมได้ยาก เนื่องจากไม่สามารถปรับตัวเข้ากับคนอื่นในสังคม เกิดความแปลกแยก จึงนับว่าอาการสมาธิสั้นเป็นอาการที่ส่งผลเสียต่อเด็กมาก วันนี้เราจึงมีวิธีที่ช่วยลดอาการสมาธิสั้นด้วยงานศิลปะ

            งานศิลปะเป็นสิ่งที่สามารถทำได้ทุกเพศทุกวัยไม่เว้นแม้แต่เด็ก ดังนั้นหากเด็กมีอาการสมาธิสั้นเกิดขึ้นสามารถลดอาการสมาธิสั้นที่เป็นอยู่ให้น้อยลงและหายได้ในที่สุด ด้วยการให้เด็กทำงานศิลปะด้วย การวาดภาพ การระบายสี งานประดิษฐ์ของเล่นต่าง ๆ การที่งานศิลปะสามารถช่วยลดอาการสมาธิสั้นได้ เนื่องจากในขณะที่เด็กทำงานอยู่นั้น เด็กจะมีความจดจ่ออยู่กับสิ่งที่ทำอยู่ มีความพยายามที่จะควบคุมกล้ามเนื้อในการขยับนิ้ว ขยับมือ แขนขาให้มีการเคลื่อนไหวไปตามที่ต้องการ โดยที่ตัวเด็กเองไม่รู้สึกว่าโดนบังคับ เพราะเด็กรู้สึกอยากที่จะทำเองจึงเป็นการกระตุ้นพัฒนาการทางด้านร่างกายร่วมด้วย และในระหว่างที่ทำงานอยู่นั้น เด็กจะมีจินตนาการในการออกแบบภาพว่าต้องเพิ่มเติมหรือระบายสีอะไรจึงจะออกมาได้อย่างใจ ซึ่งในขณะที่เด็กกำลังกิจกรรมอยู่นั้น คุณพ่อคุณแม่สามารถเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมดังกล่าวด้วยจะเป็นการดี เพราะเป็นการสร้างสายสัมพันธ์และเพิ่มเวลาในการเล่นให้มากขึ้น ทำให้เด็กมีสมาธิและความสนใจในสิ่งที่ทอยู่ได้นานขึ้น ซึ่งการทำเช่นนี้จะช่วยลดอาการสมาธิสั้นที่เป็นอยู่ให้น้อยลง และหากทำติดต่อกันเป็นเวลานานอาการสมาธิสั้นที่เป็นอยู่จะหายไปโดยที่ไม่จำเป็นต้องกินยาเพื่อรักษา

            อาการสมาธิสั้นถึงแม้ว่าจะเป็นอาการที่สามารถรักษาด้วยการให้ศิลปะหรือดนตรีในการรักษาให้หายได้ในกรณีที่มีอาการไม่มาก หรือหากมีอาการมากก็มียารักษา แต่สิ่งที่ดีที่สุดก็คือ การป้องกันไม่ให้เกิดอาการดังกล่าวกับเด็ก ด้วยการไม่เลี้ยงเด็กด้วยมือถือหรือโทรทัศน์ แต่เลี้ยงด้วยความใส่ใจอย่างแท้จริงจากพ่อและแม่

ปัจจุบันนี้พบว่าคนไทยจำนวนมากมีอาการสมาธิสั้นเกิดขึ้น โดยเฉพาะในเด็กที่อยู่ในวัยเรียน ซึ่งอาการสมาธิสั้นที่เกิดขึ้น เนื่องจากการเลี้ยงดูที่ขาดความใส่ใจและการเทคโนโลยีที่ทำให้เด็กไม่ต้องสนอง อย่างโทรทัศน์หรือมือถือเข้ามาช่วยเด็กหยุดนิ่ง ซึ่งการที่เด็กหยุดนิ่งจะทำให้คนเลี้ยงเหนื่อยน้อยลงและมีเวลาในการทำสิ่งอื่นมากขึ้น แต่ว่าการทำเช่นนั้นจะทำให้เด็กมีอาการสมาธิสั้นไม่สามารถจดจ่อกับสิ่งที่ทำ มีอารมณ์แปรปรวน มีความก้าวร้าว รอคอยไม่เป็น เอาแต่ใจ ซึ่งอาการในเด็กแต่ละคนจะมีลักษณะที่ต่างกัน ซึ่งเมื่อโตขึ้นไปเด็กจะเข้าสังคมได้ยาก เนื่องจากไม่สามารถปรับตัวเข้ากับคนอื่นในสังคม เกิดความแปลกแยก จึงนับว่าอาการสมาธิสั้นเป็นอาการที่ส่งผลเสียต่อเด็กมาก วันนี้เราจึงมีวิธีที่ช่วยลดอาการสมาธิสั้นด้วยงานศิลปะ             งานศิลปะเป็นสิ่งที่สามารถทำได้ทุกเพศทุกวัยไม่เว้นแม้แต่เด็ก ดังนั้นหากเด็กมีอาการสมาธิสั้นเกิดขึ้นสามารถลดอาการสมาธิสั้นที่เป็นอยู่ให้น้อยลงและหายได้ในที่สุด ด้วยการให้เด็กทำงานศิลปะด้วย การวาดภาพ การระบายสี งานประดิษฐ์ของเล่นต่าง ๆ การที่งานศิลปะสามารถช่วยลดอาการสมาธิสั้นได้ เนื่องจากในขณะที่เด็กทำงานอยู่นั้น เด็กจะมีความจดจ่ออยู่กับสิ่งที่ทำอยู่ มีความพยายามที่จะควบคุมกล้ามเนื้อในการขยับนิ้ว ขยับมือ แขนขาให้มีการเคลื่อนไหวไปตามที่ต้องการ โดยที่ตัวเด็กเองไม่รู้สึกว่าโดนบังคับ เพราะเด็กรู้สึกอยากที่จะทำเองจึงเป็นการกระตุ้นพัฒนาการทางด้านร่างกายร่วมด้วย และในระหว่างที่ทำงานอยู่นั้น เด็กจะมีจินตนาการในการออกแบบภาพว่าต้องเพิ่มเติมหรือระบายสีอะไรจึงจะออกมาได้อย่างใจ ซึ่งในขณะที่เด็กกำลังกิจกรรมอยู่นั้น คุณพ่อคุณแม่สามารถเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมดังกล่าวด้วยจะเป็นการดี เพราะเป็นการสร้างสายสัมพันธ์และเพิ่มเวลาในการเล่นให้มากขึ้น ทำให้เด็กมีสมาธิและความสนใจในสิ่งที่ทอยู่ได้นานขึ้น ซึ่งการทำเช่นนี้จะช่วยลดอาการสมาธิสั้นที่เป็นอยู่ให้น้อยลง และหากทำติดต่อกันเป็นเวลานานอาการสมาธิสั้นที่เป็นอยู่จะหายไปโดยที่ไม่จำเป็นต้องกินยาเพื่อรักษา             อาการสมาธิสั้นถึงแม้ว่าจะเป็นอาการที่สามารถรักษาด้วยการให้ศิลปะหรือดนตรีในการรักษาให้หายได้ในกรณีที่มีอาการไม่มาก หรือหากมีอาการมากก็มียารักษา แต่สิ่งที่ดีที่สุดก็คือ การป้องกันไม่ให้เกิดอาการดังกล่าวกับเด็ก ด้วยการไม่เลี้ยงเด็กด้วยมือถือหรือโทรทัศน์ แต่เลี้ยงด้วยความใส่ใจอย่างแท้จริงจากพ่อและแม่